วันเสาร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

Oignon


L’oignon (l'orthographe ognon est préconisée par les rectifications orthographiques du français en 1990), prononcé /ɔ.ɲɔ̃/, est une plante herbacée bisannuelle de la famille des Alliaceae (anciennement Liliaceae), largement et depuis longtemps cultivée comme plante potagère pour ses bulbes de saveur et d'odeur fortes et/ou pour ses feuilles. Le terme désigne aussi le bulbe de cette plante récolté comme légume. Par extension, il désigne en horticulture les bulbes d'autres plantes, généralement non comestibles (par exemple : oignon de tulipe). L'oignon potager est utilisé dans de très nombreuses recettes et existe en de nombreuses variétés, parmi lesquelles l'échalote.

C'est à la fois un légume et un condiment précieux, qui possède de multiples propriétés médicinales.

Le bulbe de l'oignon se compose de bases épaissies de feuilles s'enveloppant les unes dans les autres. De façon générale on parle d'oignon pour tous les bulbes de liliacées, comme les tulipes.

Botanique




Description

L'oignon est une espèce herbacée, vivace par son bulbe unique, cultivée comme une annuelle ou bisannuelle (floraison la deuxième année). C'est une plante haute de 60 à 100 cm, dont les feuilles de couleur verte sont cylindriques, creuses (ce qui distingue cette espèce du poireau et de l'ail, autres espèces cultivées appartenant aussi au genre Allium). La tige florale dressée est également creuse. Elle présente un renflement vers sa base.

Le bulbe est relativement gros, de forme sphérique, parfois plus ou moins aplati.

Les fleurs petites (de 4 à 5 mm de large), de couleur blanche ou verte, sont regroupées en une ombelle sphérique, en position terminale sur la tige. Les fleurs ont une symétrie trimère, à trois sépales, trois pétales et six étamines. L'ovaire unique est divisé en trois loges. Le fruit est une capsule s'ouvrant par trois valves, libérant chacune généralement deux graines.

Chez certaines variétés, il arrive que des bulbilles se développent à la place des fleurs.

Cette plante possède une bulbe qui lui permet de se reproduire.

Maïs


Histoire du maïs

Lorsque les Européens découvrirent l’Amérique, le maïs était déjà cultivé du nord au sud du continent depuis les rives du Saint-Laurent (Canada) à celles du Rio de la Plata (Argentine). Le maïs a été vu pour la première fois par Christophe Colomb en 1492 à Cuba[15]. Magellan le trouva à Rio de Janeiro en 1520 et Jacques Cartier rapporta en 1535 que Hochelaga, la future Montréal se trouvait au milieu de champs de maïs, qu’il comparait à du « millet du Brésil ».

Les Méso-Amérindiens (Olmèques, Mayas, Aztèques), peuples du centre de l’Amérique, en étaient très dépendants. Certains Nord-Amérindiens, le connaissaient également : c’est d’eux que nous vient le pop-corn.

La première introduction du maïs en Europe, et dans l’Ancien monde, est certainement due à Christophe Colomb au retour de son premier (4 mars 1493) ou deuxième (11 juin 1496) voyage en Amérique selon son propre témoignage[16].

Du sud de l’Espagne, il s’est diffusé dans toutes les régions d’Europe méridionale au climat suffisamment chaud et humide, le Portugal (1515), le pays basque espagnol (1576), la Galice, le Sud-Ouest de la France et la Bresse (1612), la Franche-Comté alors possesion espagnole, et où il est nommé « blé d'Espagne », le reste de la France restant longtemps réticente à sa culture au profit du blé, la Vénétie (1554), puis toute la plaine du Pô. D’Italie, il s’est répandu vers l’est : Serbie, Roumanie, Turquie.

En Afrique, le maïs a été introduit d’une part en Égypte vers 1540, par la Turquie et la Syrie, d’autre part dans la région du golfe de Guinée par les Portugais vers 1550.

Le premier dessin du maïs en Europe est dû au botaniste allemand Fuchs en 1542. En Chine, le premier dessin du maïs est daté de 1637, mais sa culture y était déjà répandue.

Le premier ouvrage consacré au maïs en Europe, Le Maïs ou blé de Turquie apprécié sous tous ses rapports, est écrit par Parmentier en 1784.

Le succès du maïs tient d’abord à sa facilité de culture et à son rendement très nettement supérieur à celui du blé ou des céréales secondaires qu’il a remplacé, comme le millet (dont il a pris le nom en portugais, milho) et le sorgho, puis au XXe siècle au progrès génétique qui lui a permis de s’adapter à des conditions de culture de plus en plus septentrionales, tout en permettant une production de matière sèche intéressante, cela grâce à des variétés précoces. Les rendements ont quadruplé en 25 ans.

maïs
Le maïs (aussi appelé blé d’Inde au Canada) est une plante tropicale herbacée annuelle de la famille des Poacées, largement cultivée comme céréale pour ses grains riches en amidon, mais aussi comme plante fourragère. Le terme désigne aussi le grain de maïs lui-même, de la taille d’un petit pois.
Cette espèce, originaire d’Amérique centrale, d’Amérique du Sud et d'Amérique du Nord, constituait la base de l’alimentation des Amérindiens avant l'arrivée en Amérique de Christophe Colomb. La plante fut divinisée dans les anciennes civilisations d’Amérique centrale et méridionale et était connue chez les tribus d’Amérique du Nord comme l’une des trois sœurs. Introduite en Europe au XVIe siècle, elle est aujourd’hui cultivée mondialement et est devenue la première céréale mondiale devant le riz et le blé. Avec l’avènement des semences hybrides dans la première moitié du XXe siècle, puis des semences transgéniques tout récemment, le maïs est le symbole de l’agriculture intensive.
Son nom vernaculaire le plus commun est maïs. Ce terme vient de l’espagnol maíz, emprunté lui-même à la langue des Taínos de Haïti qui le cultivaient. De nombreux autres noms vernaculaires ont été appliqués à cette céréale, notamment blé indien, blé de Turquie et blé de Barbarie. Désuets pour la plupart, ces noms témoignent de la confusion qui a longtemps régné en Europe sur l’origine de la plante.
Nom scientifique : Zea mays de la famille des poacées, les graminées.
Synonymes : maïs sucré : maïs doux, blé de Barbarie, blé de Guinée, blé de Turquie, froment des Indes ; maïs éclaté : maïs fulminant, maïs perlé, pop-corn…
Maïs sucré : anglais : sugar corn, sugar maiza, sweet corn, allemand : Zuckermais, Süßmais, Welsch Korn, espagnol : maiz dulce, italien : grano turco, mais dolce, néerlandais : maïs, turksche tarwe
Maïs éclaté : anglais : pop corn, allemand : Puffmais, Perlmais, espagnol : maiz reventón, maiz palomero, italien : mais ibrido, néerlandais : pofmais

วันศุกร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2553





Blueberries


Blueberries are flowering plants in the genus Vaccinium, sect. Cyanococcus. The species are native only to North America. They are shrubs varying in size from 10 cm tall to 4 m tall; the smaller species are known as "lowbush blueberries", and the larger species as "highbush blueberries". The leaves can be either deciduous or evergreen, ovate to lanceolate, and from 1-8 cm long and 0.5-3.5 cm broad. The flowers are bell-shaped, white, pale pink or red, sometimes tinged greenish.
The fruit is a berry 5-16 mm diameter with a flared "crown" at the end; they are pale greenish at first, then reddish-purple, and finally dark purple on ripening. They have a sweet taste when mature, with variable acidity. Blueberries are one of only a few human foods that are naturally colored blue. Blueberry bushes typically bear fruit from May through October; "blueberry season" peaks in July, which is National Blueberry Month in the United States and Canada.
All species whose English common names include "blueberry" are currently classified in section Cyanococcus of the genus Vaccinium. Several other plants of the genus Vaccinium also produce blue berries which are sometimes confused with blueberries, mainly the predominantly European bilberry (Vaccinium myrtillus), which in many languages has a name that means "blueberry" in English. See the Identification section for more information.
Although blueberries are native to North America, they are now grown also in Australia, New Zealand and South American countries, and are air-shipped as fresh produce to markets around the world.
Beginning in 2005, blueberries have been discussed among a category of functional foods called superfruits having the favorable combination of nutrient richness, antioxidant strength, emerging research evidence for health benefits[3] and versatility for manufacturing popular consumer products.




Species


- Vaccinium angustifolium (Lowbush Blueberry)
- Vaccinium boreale (northern blueberry)
- Vaccinium caesariense (New Jersey blueberry)
- Vaccinium corymbosum (Northern Highbush Blueberry)
- Vaccinium darrowii (Southern Highbush Blueberry)
- Vaccinium elliottii (Elliot Blueberry)
- Vaccinium formosum (southern blueberry)
- Vaccinium fuscatum (Black Highbush Blueberry; syn. V. atrococcum)
- Vaccinium hirsutum (Hairy-fruited Blueberry)
- Vaccinium koreanum
- Vaccinium myrsinites (Evergreen Blueberry)
- Vaccinium myrtilloides (Canadian Blueberry)
- Vaccinium pallidum (Dryland Blueberry)
- Vaccinium simulatum (upland highbush blueberry)
- Vaccinium tenellum (Southern Blueberry)
- Vaccinium virgatum (Rabbiteye Blueberry; syn. V. ashei)




Identification


True wild blueberries (section Cyanococcus of the genus Vaccinium) occur only in eastern North America. Other sections in the genus, native to other parts of the world including western North America, Europe, and Asia, include other wild shrubs producing similar-looking edible berries such as huckleberries, cranberries, bilberries and cowberries. These are sometimes colloquially called blueberries and sold as blueberry jam or other products.
The names of blue berries in languages other than English often translate as "blueberry", e.g. Scots Blaeberry and Norwegian Blåbær, although those berries may belong to another species. For example, Blåbær and French myrtilles usually refer to the European native bilberry , while bleuets refers to the North American blueberry.
Aside from location of origin, blueberries can be distinguished from bilberries by cutting them in half. Ripe blueberries have white or greenish flesh, while bilberries and huckleberries are colored purple throughout.




Cultivation


Blueberries are cultivated and picked wild. In North America, the most common cultivated species is V. corymbosum, the [Northern Highbush Blueberries]. Hybrids of this with other Vaccinium species adapted to southern U.S. climates are known collectively as Southern Highbush Blueberries.
Wild blueberries, smaller than cultivated ones, are prized for their intense color. The Lowbush Blueberry, V. angustifolium, is found from Newfoundland westward and southward to Michigan and West Virginia. In some areas it produces natural blueberry barrens, where it is practically the only species covering large areas. Several First Nations communities in Ontario are involved in harvesting wild blueberries. Low bush species are fire-tolerant and blueberry production often increases following a forest fire as the plants regenerate rapidly and benefit from removal of competing vegetation.
There are numerous highbush cultivars of blueberries, each of which have a unique and diverse flavor. The most important blueberry breeding program has been the USDA-ARS breeding program based at Beltsville, Maryland and Chatsworth, New Jersey. This program began when Dr. Frederick Coville of the USDA-ARS collaborated with Ms. Elizabeth White. In the early part of the 20th Century, Ms. White offered wild pickers cash for large fruited blueberry plants. 'Rubel', one such wild blueberry cultivar, is the origin of many of the current hybrid cultivars.
Rabbiteye Blueberry (V. virgatum syn. V. ashei) is a southern type of blueberry produced from the Carolinas to the Gulf Coast states.
Other important species in North America include V. pallidum, the Hillside or Dryland Blueberry. It is native to the eastern U.S., but common in the Appalachians and the Piedmont of the Southeast. Sparkleberry, V. arboreum, is a common wild species on sandy soils in the southeastern U.S. Its fruit are important to wildlife, and the flowers important to beekeepers.




Growing areas

Blueberries were first cultivated in the United States by Elizabeth Coleman White in the South Jersey village of Whitesbog.
Maine produces 25% of all blueberries in North America, making it the largest producer in the world. Maine's 24,291 hectares (FAO figures) [60,023 acres] of blueberry were propagated from native plants that occur naturally in the understorey of its coastal forests. The Maine crop requires about 50,000 beehives for pollination, with most of the hives being trucked in from other states for that purpose. Many towns in Maine lay claim to being the blueberry capital and several festivals are centered around the blueberry. The wild blueberry is the official fruit of Maine and is often as much a symbol of Maine as the lobster.
Quebec has the largest quantity of wild blueberry production, coming especially from the regions of Saguenay-Lac-Saint-Jean and Côte-Nord which provide 40% of Quebec's total provincial production. Quebec has added 28 717 hectares in blueberry farms since 2001[citation needed].
Nova Scotia, also a major producer of wild blueberries, recognizes the blueberry as its official provincial berry[7]. The town of Oxford, Nova Scotia is known as the Wild Blueberry Capital of Canada. New Brunswick and Prince Edward Island are other Canadian provinces with major wild blueberry farming.
Significant production of highbush blueberries occurs in Oregon, Washington, British Columbia, Michigan, New Jersey and North Carolina. California is rapidly increasing plantings of southern highbush varieties originating from the University of Florida and North Carolina State University. Southern highbush berries are now also cultivated in the Mediterranean regions of Europe.
Highbush blueberries were first introduced to Germany and the Netherlands in the 1930s and have since spread to Poland, Italy and other countries of Europe (Nauman, 1993).
"[M]any growers in France, Austria, and Italy realized too that it pays to cultivate highbush blueberries, and that good economic gain can be obtained," according to an industry researcher.


"Even in Belgium and Norway, some very promising trials with special methods of blueberry cultivation resulted in a limited commercial production which is very successful. ... Except in the United Kingdom, Ireland, and Spain, a blueberry industry is developing in all regions where the production is possible due to the climatic and edaphic conditions ..." (Nauman, 1993).
In the Southern hemisphere, Chile, Argentina, New Zealand, and Australia now export blueberries. South Africa exports them to Europe.
Blueberries were first introduced to Australia in the 1950s, but the effort was unsuccessful. "In the early 1970's David Jones from the Victorian Department of Agriculture imported seed from the U.S. and a selection trial was started. This work was continued by Ridley Bell" who imported more American varieties. In the mid-1970s the Australian Blueberry Growers Association (ABGA) was formed. (Clayton-Greene)
By the early 1980s, the blueberry industry was started in New Zealand and is still growing. (BNZ, n.d)
The industry is even newer in Argentina: "Argentine blueberry production has increased over the last three years with planted area up to 400 percent," according to a 2005 report by the U.S. Department of Agriculture. But that increase comes from a tiny base of 400 hectares in 2001 (to 1,600 hectares in 2004). The industry is new in the country and farmers are still learning the business. "Argentine blueberry production has thrived in three different regions: the province of Entre Rios in Northeastern Argentina, the province of Buenos Aires, near the country’s capital city Buenos Aires, and the southern Patagonian valleys," according to the report. (Gain, 2005)
Chile is the biggest producer in South America and the largest exporter to the northern hemisphere, with an estimated surface of 6,800 hectares (as of 2007). Introduction of the first plants started in the early 80s and production started in the late 80s in the southern part of the country. Today production ranges from Copiapó in the north to Puerto Montt in the south, which allows the country to offer blueberries from October till late March. The main production area today is the Bio Bio region. Production has evolved rapidly in the last decade, becoming the 4th most important fruit exported in value terms. Fresh market blueberries are exported mainly to North America (80%) followed by Europe (18%). Information from the Fruit Export Association (ASOEX, 2007), Chile exported in 2007 more than 21 thousand MT of fresh blueberries and more than 1,000 MT of frozen product. Most of the production comes from the highbush type, but several rabbiteye blueberries are grown in the country as well. Information taken from the Chilean Fruit Producers Federation (FEDEFRUTA, 2007) and their Blueberry Committee, stands that there are over 800 blueberry producers with surfaces ranging from 50 to 200 hectares.




Growing seasons


Blueberry production in North America typically starts in mid-May (in Florida) and ends in September, when some fruit is held over in controlled-atmosphere storage in Oregon, Washington and Canada. (Gaskell, 2006).
Sources give different periods for the growing season in the southern hemisphere. According to the University of California Extension Service, Chile, New Zealand and Argentina begin harvesting in the winter and continue till mid-March, when Chilean blueberries are held over in controlled-atmosphere storage for about six weeks. "As a result, blueberries reach annual peak prices in mid-April."(Gaskell, 2006)
In Chile, San Jose Farms, which says (according to its Web site) that it is one of the oldest blueberry producers in the country (it started in the early 1990s), states that its harvest season starts in November and continues through March. (San Jose, n.d.)
In Argentina: "The marketing year (MY) for blueberries begins in September and ends in February," according to a U.S. Department of Agriculture report. (Gain, 2005)




Nutrition
Blueberries, especially wild species, contain anthocyanins, other antioxidant pigments and other phytochemicals which may have a role in reducing the risks of some diseases[9], including cancers.
Researchers have shown that blueberry anthocyanins, proanthocyanidins, flavonols and tannins inhibit mechanisms of cancer cell development in vitro. At a 2007 symposium on berry health benefits were reports showing consumption of blueberries (and similar fruits including cranberries) may alleviate the cognitive decline occurring in Alzheimer's Disease and other conditions of aging.
Feeding blueberries to animals lowers stroke damage.
Research at Rutgers has also shown that blueberries may help prevent urinary tract infections. Other animal studies found that blueberry consumption lowered cholesterol and total blood lipid levels, possibly affecting symptoms of heart disease. [21] Additional research showed that blueberry consumption in rats altered glycosaminoglycans, vascular cell components that can influence control of blood pressure.
Most of these studies were conducted using highbush, hybrid cultivars of blueberries. Content of polyphenol antioxidants and anthocyanins in lowbush blueberries exceeds the values found in highbush blueberries.
1.40 grams of fresh blueberries contain 3 g of fiber [24]. Additionally blueberries are high in manganese as well as vitamin K and have a low glycemic load per single 155 g serving.

วันพุธที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

วิตามินซี

วิตามินซี คืออะไร
ประวัติการค้นพบ วิตามินซี เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่สมัย ศตวรรษที่ 18 มีการสังเกตว่าพวกทหารเรือที่มีการรอนแรมออกเดินเรือไปในทะเลเป็นเวลานานๆ ซึ่งมักจะขาดแคลนพวกผักสดผลไม้สด จะป่วยเป็นโรคลักปิดลักเปิด และสุขภาพไม่ค่อยดี มีอาการอ่อนเพลีย อยู่บ่อยๆ แต่ก็มีคนสังเกตเห็นว่าจะไม่พบอาการดังกล่าวในทหารเรือที่รับประทานมะนาว เป็นประจำ และเมื่อต่อมาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ก้าวหน้ามากขึ้น ในปี 1982 ก็สามารถหาสารอาหารสำคัญที่เป็นต้นเหตุของโรคดังกล่าวได้ว่าสารที่พวกทหาร เรือขาดไปคือ “กรดแอสคอร์บิค (Ascorbic acid)” ซึ่งมันมีฤทธิ์สามารถช่วยรักษาโรคลักปิดลักเปิดได้ ในปัจจุบัน กรดแอสคอร์บิค ก็ถูกรู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อของ “วิตามินซี” และมีนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงท่านหนึ่งซึ่งเคยได้รับรางวัลโนเบลถึง 2ครั้ง และมีอายุยืนยาวมากกว่า 90 ปีแม้จะป่วยเป็นโรค มะเร็ง มายาวนานถึง 20 ปีก็ตามคือ Dr.Linus Pauling ชาวเมืองพอรต์แลนด์ ได้เคยพูดไว้ว่า เหตุที่เขาสามารถมีสุขภาพดีและสามารถชะลอการลุกลามของโรค มะเร็ง ในตัวได้นานกว่า 20 ปี ก็เนื่องจาก วิตามิน และ เกลือแร่ ที่เขารับประทานเข้าไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิตามินซี ซึ่งหลังจากที่เขารับประทานขนาดสูงทุกวัน เขาก็ไม่เคยเป็นหวัดอีกเลย Dr.Linus Pauling เริ่มรับประทาน วิตามินซี ชนิดเม็ดตั้งแต่อายุ 40 ปี และเพิ่มขนาดสูงถึง 18,000 มิลลิกรัม เมื่อรู้ว่าตนเองเป็น มะเร็ง ตั้งแต่อายุได้ 64 ปี เขายืนยันว่ามันช่วยให้ มะเร็ง ในร่างกายสงบลง
ประโยชน์ของ วิตามินซี
เราทราบ กันโดยทั่วไปแล้วว่า วิตามินซี มีประโยชน์มากมากหลายอย่าง ไม่ว่าจะช่วยปกป้องเซล เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สุขภาพและความแข็งแรงของเนื้อเยื่อในร่างกายที่เกี่ยวข้องกับ เส้นเอ็น และคอลลาเจน ก็มีผลมาจากปริมาณ วิตามินซี ในร่างกาย และ วิตามินซี ยังมีฤทธิ์ในการเป็นสารแอนตี้อ๊อกซิแดนท์ที่ดี จึงสามารถป้องกันการทำลายเซลจากอนุมูลอิสระได้เป็นอย่างดี และมันช่วยให้ร่างกายสามารถรีไซเคิลสารต้านอนุมูลอิสระตัวอื่นๆ ดังนั้นเพื่อประโยชน์สูงสุดจึงควรที่จะรับประทาน วิตามินซี ร่วมกับสารต้านอนุมูลอิสระชนิดอื่นๆ เช่น วิตามินอี แคโรทีน ฟลาโวนอย เป็นต้น
นอกจากนี้ วิตามินซี ยังมีประโยชน์ด้านอื่นๆ อีก คือ
- วิตามินซี ช่วยบรรเทาความรุนแรงและระยะเวลาของการเป็นโรคหวัด หากเริ่มรับประทาน วิตามินซี ตั้งแต่เริ่มแรกที่เห็นอาการของโรคหวัด จะช่วยให้อาการป่วยลดความรุนแรงและหายได้เร็วขึ้น มีการศึกษาเมื่อปี 1995 พบว่าหากรับประทาน วิตามินซี 1,000 ถึง 6,000 มิลลิกรัมต่อวันตั้งแต่เริ่มมีอาการของโรคหวัด จะช่วยให้หายได้เร็วขึ้น 21% แต่ก็ยังไม่มีรายงานว่า วิตามินซี สามารถช่วยป้องกันโรคหวัดได้
- วิตามินซี ช่วยให้แผลหายได้เร็วขึ้น เนื่องจาก วิตามินซี ช่วยให้ร่างกายซ่อมแซมและรักษาตัวเองโดยการไปเสริมสร้างผนังเซล ทำให้เส้นเลือดฝอยแข็งแรง และต่อต้านอาการอักเสบ จึงทำให้แผลหายได้เร็วขึ้น ในทางกลับกันการขาด วิตามินซี ก็สงผลให้แผลให้ได้ช้าลงเช่นกัน
- หากรับประทาน วิตามินซี เป็นประจำทุกวัน มันจะช่วยให้เหงือกมีสุขภาพแข็งแรง โดย วิตามินซี จะไปช่วยรักษาเซลที่ถูกทำลายและช่วยให้แผลที่เหงือกหายเร็ว
- เพิ่มความต้านทานต่อ โรคหัวใจ โดยการไปช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมระดับ คลอเรสเตอรอล ในร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อรับประทานร่วมกับ วิตามินอี โดยมันจะไปลดการเกาะตัวของไขมันที่ผนังหลอดเลือด
- เนื่องจาก วิตามินซี เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ดี มันจึงอาจจะช่วยในการป้องกันและต่อสู้กับโรค มะเร็ง ได้ มีการศึกษาอย่างมากในเรื่องนี้แต่ก็ยังไม่ข้อสรุปที่ชัดเจน โดยยังมีการถกเถียงกันอย่างมากเกี่ยว วิตามินซี กับการป้องกันและต่อสู้กับโรค มะเร็ง
- ช่วยในการป้องกันโรคต้อกระจก เนื่องจาก วิตามินซี สามารถช่วยปกป้องเลนส์ตาจากอันตรายต่างๆ เช่น ควันบุหรี่ แสงอุลตร้าไวโอเลต ที่เป็นสิ่งกระตุ้นให้เกิดโรคต้อกระจก มีการศึกษาอันหนึ่งพบว่าผู้หญิงที่รับประทานวิตามินซีมาอย่างน้อย 10 ปี พบว่ามีความเสี่ยงที่จะมีอาการเลนส์ตาขุ่นมัวซึ่งเป็นอาการเริ่มแรกของโรค ต้อกระจก ลดลงถึง 77%
- บรรเทาอาการแพ้ หอบหืด ไซนัส ทั้งนี้เนื่องจากโดยธรรมชาติแล้ว วิตามินซี มีคุณสมบัติเป็นสารต่อต้านภูมิแพ้ต่างๆ เช่น ฝุ่นละออง เกษรดอกไม้ ซึ่งอาการแพ้เหล่านี้ก็เป็นสาเหตุส่วนหนึ่งของโรคไซนัส นอกจากนี้ยังมีการศึกษาพบว่า วิตามินซี ช่วยป้องกันและทำให้อาการหอบหืดดีขึ้น
- ช่วยป้องกันอาการไมเกรน เมื่อรับประทานร่วมกับ pantothenic acid โดย วิตามินซี จะไปช่วยร่างกายในการต่อสู้กับความเครียดได้ดีขึ้น
- ช่วยเรื่องความจำ โดย วิตามินซี จะไปช่วยรักษาสภาพของเซลประสาทและจะได้ผลดียิ่งขึ้นหากรับประทานร่วมกับ อาหารต้านอนุมูลอิสระชนิดอื่นๆ เช่น วิตามินอี แคโรทีน กิงโกะไบโลบ้า และโคเอนไซม์ Q10
ขนาดที่รับประทาน
ในสภาวะปกติปริมาณที่แนะนำให้รับประทานคือ 60 มิลลิกรัมต่อวัน (แต่ในคนที่สูบบุหรี่ 200 มิลลิกรัมต่อวัน) อย่างไรก็ตามผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารเสริมสุขภาพได้แนะนำว่าเพื่อประสิทธิภาพ ที่ดีต่อสุขภาพควรจะต้องรับประทานอย่างน้อย 100-200 มิลลิกรัมต่อวัน คนที่มีความเครียดควรรับประทานวันละ 500 มิลลิกรัมต่อวัน แต่หากต้องการผลในด้านการป้งกันโรคต่างๆ เช่น มะเร็ง ความชรา ควรจะรับประทาน 250 – 1,000 มิลลิกรัม
หากเราได้รับ วิตามินซี น้อยกว่าที่ร่างกายควรจะได้รับ ก็จะเกิดลักปิดลักเปิด ซึ่งจะยิ่งรุนแรงมากขึ้นหากขาดอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานและไม่ต้องกังวัล ว่าจะได้รับมากเกินไป เนื่องจาก วิตามินซี สามารถละลายน้ำได้ดี หากร่างกายไม่ได้ใช้ก็จะมีการขับออกมาได้ทางปัสสาวะ อีกทั้งยังไม่เคยมีรายงานเกี่ยวกับพิษที่เกิดจากการรับประทาน วิตามินซี แม้จะรับประทานในปริมาณที่สูงกว่า 6,000 – 18,000 มิลลิกรัม

ข้อปฏิบัติในการรับ ประทานเพื่อประโยชน์สูงสุด
- เพื่อให้ได้ผลดีที่สุดควรพิจารณารับประทานร่วมกับสารต้านอนุมูลอิสระตัว อื่นๆ เช่น วิตามินอี ฟลาโวนอย จะไปช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของ วิตามินซี
- เพื่อสุขภาพทั่วไป ควรรับประทานอย่างน้อย 500 มิลลิกรัมต่อวัน
- สำหรับการรับประทานเพื่อการรักษาหรือการป้องกัน ควรรับประทาน 1,000 – 6,000 มิลลิกรัม ขึ้นกับโรคแต่ละชนิด
- การรับประทานไม่จำเป็นต้องรับประทานในครั้งเดียวต่อวัน สามารถแบ่งรับประทานเป็นหลายๆ ครั้งต่อวัน
- การรับประทาน วิตามินซี ไม่จำเป็นต้องรับประทานพร้อมอาหาร หรือทานอาหารก่อนการรับประทาน
- ยัง ไม่มีรายงานว่า วิตามินซี ชนิดพิเศษพวก Esterifies วิตามินซี จะให้ผลดีกว่าวิตามินซีแบบธรรมดา
ข้อควร ระวัง
- การรับประทานในปริมาณสูงๆ อาจจะมีผลต่อการดูดซึมแร่ธาตุอื่นๆ เช่น Copper Selenium
- การรับ ประทานในปริมาณสูงๆ อาจจะมีผลต่อการผิดพลาดของผลตรวจระดับน้ำตาลในปัสสาวะได้- วิตามินซี ทำให้การดูดซึมธาตุเหล็กได้ดี จึงอาจจะเกิดภาวะได้รับธาตุเหล็กเกิน

วันเสาร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

อะไรคือ O-NET A-NET

มารู้จัก ADMISSION

ADMISSION หรือที่ภาษาไทยเรียกกันว่าแอดมิชชั่น(จะบอกทำไมเนี่ย) คือระบบการคัดเลือกบุคคลที่อยากจะเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งถูกนำมาใช้จริงครั้งแรกในปี ๒๕๔๘ (โชคดีของเด็กรุ่นนี้นะเนี่ย ได้ลองของใหม่) แทนการสอบเอนทรานซ์ในระบบเดิม ซึ่งในระบบใหม่นี้คะแนนของผู้ที่(อยาก)จะถูกคัดเลือกเข้าสู่สถาบันอุดมศึกษาจะไม่ได้มาจากการสอบเพียงอย่างเดียวทั้งหมดเท่านั้น แต่ยังมีคะแนนบางส่วนจากเกรดเฉลี่ยของที่โรงเรียนมาเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาเข้าศึกษาต่อด้วย
GPAX หรือถ้าจะเรียกให้เข้าใจง่ายๆก็คือเกรดเฉเลี่ยสะสมของน้องๆนั่นแหละ ซึ่งไม่ว่าน้องจะเข้าคณะไหนก็ตาม GPAX จะมีผลต่อคะแนนรวมของน้องถึง 10% เพราะฉะนั้นก็ตั้งใจเรียนในห้องเรียนให้มากๆ(ในทุกวิชา)ด้วยหล่ะ เพราะถ้าไม่ตั้งใจเรียนในห้อง นอกจากจะเกรดตกแล้ว คะแนน GPAX 10% ก็จะลดลงไปด้วยเน้อ
GPA หรือคะแนนสะสมรายวิชา มันก็คล้ายเจ้า GPAX นั่นแหละ แต่แค่วุ่นวายกว่าหน่อย เพราะ GPA เนี่ยนะแต่ละคณะเขาจะกำหนดเองเลยว่าจะเอาวิชาอะไร กี่% แต่ละคณะจะต้องเอาคะแนน GPA ของน้องๆอย่างน้อย 3 วิชา แต่ไม่เกิน 5 วิชา และคะแนน GPA ของน้องจะมีผลต่อคะแนนรวมถึง 20% เพราะฉะนั้นน้องๆควรจะรู้ตัวเองได้แล้วในชั้น ม.4 ว่าอยากเข้าคณะอะไร แล้วก็ไปดูตารางองค์ประกอบและค่าร้อยละของกลุ่มสาขาวิชาว่าคณะที่น้องๆอยากเข้า ว่าคณะที่น้องๆอยากเข้าเขาจะถ่วงน้ำหนักให้วิชาใดเป็นพิเศษ จะได้ตั้งใจและเตรียมตัวแต่เนิ่นๆได้ถูกนะครับ
O-NET มาถึงสิ่งที่แปลกใหม่สำหรับการแอดมิชชั่นครั้งนี้บ้าง นั่นก็คือโอเด็ต ไม่ใช่!!!! O-NET ต่างหาก (เล่นเอง แก้เอง แป๊กเอง) O-NET มันย่อมาจาก Ordinary National Educational Test (ไม่ต้องท่องนะ มันไม่ออกข้อสอบหรอก) หรือภาษาไทยเรียกว่าการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน จัดสอบกันทั้งหมด 5 วิชา คือ ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ซึ่งใครก็ตามที่จะสอบแอดมิชชั่นจะต้อง O-NET ด้วย โดยในตัวข้อสอบก็จะเป็นเนื้อหาของความรู้พื้นฐานทั่วไปที่น้องๆ เรียนกัน รับรองว่าไม่ยากหรอก การสอบ O-NET จะมีผลต่อคะแนนแอดมิชชั่นรวมของน้องๆถึง 35-70% (ขึ้นอยู่การกำหนดของแต่ละคณะ)
A-NET อีกหนึ่งสิ่งใหม่ของการสอบแอดมิชชั่นก็คือ A-NET ซึ่งย่อมาจาก Advanced National Educational Test หรือก็คือการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นสูง ชื่อก็บอกแล้วว่าการสอบขั้นสูงเพราะฉะนั้นไม่ต้องห่วงเรื่องความยากเลย ถ้าเทียบกันแล้ว โอเนทจะแค่ขำๆ แต่เอเนทอาจจะทำให้ขำไม่ออกเลยล่ะ (ขู่เฉยๆน่าอย่าพึ่งกลัวเลย) สำหรับ A-NET และพวกวิชาเฉพาะกับความถนัดเฉพาะทางจะคิดเป็น 0-35% ของคะแนนรวมทั้งหมด ซึ่งคะแนนจะยืดหยุ่น(แปรผันผกผัน)กับคะแนน O-NET ซึ่งบางคณะก็จะไม่ใช้คะแนน A-NET ในการสอบคัดเลือกเข้าเลยก็ได้ แต่คณะก็ใช้มากถึง 35% คณะไหนใช้เท่าไรก็ต้องไปตรวจสอบกันนะขอรับ

คณะรัฐศาสตร์

แนะนำคณะรัฐศาสตร์

สถาบันหลักๆที่สอนวิชารัฐศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ในประเทศไทย หลักๆแล้ว จะมีอยู่ 3 แห่ง คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยรามคำแหงนั้น เปิดสอนใน 3 สาขา คือ คือการเมืองการปกครอง การระหว่างประเทศหรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และบริหารรัฐกิจ ส่วนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนั้น จะเปลี่ยนชื่อสาขาวิชาบริหารรัฐกิจ เป็นรัฐประศาสนศาสตร์(วิชาที่ว่าด้วยการบริหารรัฐ) และจะเพิ่มภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเข้าไป ดังนั้น รัฐศาสตร์ จุฬาฯ จึงเป็นคณะรัฐศาสตร์เดียวในประเทศไทยที่มี 4 ภาควิชา และภาควิชานี้เองที่ทำให้รัฐศาสตร์ จุฬาฯ มีความ "พิเศษ" ต่างไปจากรัฐศาสตร์แห่งอื่นๆ ต่อไปนี้พี่จะพูดอย่างกว้างๆถึงรายละเอียดของวิชาเรียน ในแต่ละสถาบันไม่แตกต่างกันนัก คือๆกันนั่นแหละ
ภาควิชาการปกครอง/ภาควิชาการเมืองการปกครอง
ถ้าอยากเข้าใจ "รัฐศาสตร์" หรือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยรัฐ อย่างชัดเจน ต้องเลือกเรียนภาควิชานี้เท่านั้น เรียนแล้วจะเข้าใจว่าทำไมอาจารย์ไชยยันต์ ถึงยอมฉีกบัตรเลือกตั้งลงข่าว จะพบคำตอบเบื้องหลังการฉีกบัตรเลือกตั้งครั้งนี้ ว่ามันมาจากปรัชญาการเมืองข้อหนึ่ง คือ ประชาชนมีสิทธิ์ดื้อแพ่งต่อรัฐ ถ้าเห็นแล้วว่ารัฐใช้กฎหมายบูดๆเบี้ยวๆ ภาควิชานี้ส่วนใหญ่จะเรียนเกี่ยวกับรัฐ สังคม ปรัชญาการเมือง แนวคิดทฤษฎีทางการเมือง การเมืองการปกครองไทย การปกครองท้องถิ่น มีวิชาเลือกเป็นวิชาตำรวจให้ด้วย เผื่อคนไหนสนใจอยากจะสอบตำรวจ
ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ/ภาควิชาการระหว่างประเทศ
ภาควิชานี้ เป็นภาควิชาที่ได้ชื่อว่าคะแนนสูงที่สุดของสายศิลป์ บางปีสูงกว่าอักษรศาสตร์หลายช่วงตัว ศึกษาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ แรกเริ่มเดิมทีนั้น รัฐแต่ละรัฐ มีความไม่เท่ากัน เหลื่อมล้ำกัน รัฐที่มีความมั่งคั่งไม่ว่าจะทางทรัพยากรหรือสติปัญญา ก็จะกดขี่ขูดรีดเอารัดเอาเปรียบรัฐที่ด้อยกว่า ดังจะเห็นตัวอย่างที่ชัดเจนได้จากลัทธิอาณานิคม นั่นเอง แต่ทว่า ในเวลาต่อมา ได้มีการจัดตั้งระเบียบโลก ขึ้นมา เพื่อมิให้เกิดปัญหาการต่อสู้ รบราฆ่าฟันกันระหว่างรัฐอีก ผ่านสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย สนธิสัญญานี้ มีผลทำให้รัฐแต่ละรัฐ มีความเท่าเทียมกัน มีเสียงหนึ่งเสียงสำหรับโหวต ไม่พอใจเดินออกจากที่ประชุมได้ฯลฯ เหล่านี้ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐนั้น ไม่ใช่เรื่องง่ายๆแบบสมัยก่อนอีกแล้ว(สมัยก่อนที่รัฐที่แข็งแรงกว่าจะกดขี่รัฐที่อ่อนแอกว่า ตามธรรมดาโลก ไม่ซับซ้อนอะไร ใช้ทฤษฎีสัจจนิยม Realism ซึ่งสำนวนสั้นๆที่อธิบายทฤษฎีนี้ได้ดีที่สุดก็คือ "มือใครยาวสาวได้สาวเอา" อันเดียวก็อธิบายได้ รัฐเป็นอนาธิปไตย ไม่มีประชาธิปไตย ต่างแก่งแย่งผลประโยชน์กันอย่างเมามัน) แต่ผลจากสนธิสัญญาฉบับนี้ ทำให้รัฐทุกรัฐที่จะมามีบทบาทในเวทีของโลกต้องเป็นรัฐอธิปไตย ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ จึงเป็นเรื่องที่ซับซ้อนมากกว่าเมื่อก่อน(ปัจจุบันยิ่งซับซ้อนใหญ่ เพราะกระแสโลกาภิวัฒน์ ผ่านความรวดเร็วว่องไวของการสื่อสารและคมนาคม) และด้วยความซับซ้อนนี้เอง ที่ทำให้ปรากฏการณ์ที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ กลายเป็นวิชาให้ได้เรียนได้ศึกษากัน ยิ่งโลกาภิวัตน์เป็นไปอย่างรวดเร็วเท่าไหร่ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐยิ่งเป็นเรื่องสลับซับซ้อนมากขึ้นเท่านั้น เรียนๆไปแล้วก็สนุกดี เหมือนดูละครน้ำเน่า มีแต่ละประเทศจะใช้ไหวพริบ เหลี่ยมคูต่างๆเพื่อแสวงหาผลประโยชน์แห่งชาติให้ตัวเองให้มากที่สุด มีมิตร มีศัตรู มีมือถือสากปากถือศีล เช่น อเมริกาสมัยหนึ่งบอกปาวๆว่าตัวเองเป็นประเทศเสรีนิยม แต่กลับมี "มหามิตร" เป็นประเทศคอมมิวนิสต์แทบจะทุกหย่อมหญ้า ฯลฯ
วิชาเรียนในภาคนี้จะเน้นเป็นภูมิภาคศึกษา เน้นศึกษาแต่ละประเทศๆไป เช่น อเมริกา ยุโรป ยุโรปตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ เอเชียตะวันออก หรือศึกษาเป็นประเด็นต่างๆ เช่น การเมืองโลกผ่านสื่อภาพยนต์ องค์การระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ การก่อการร้าย ความมั่นคงศึกษา ยุทธศาสตร์ศึกษา นโยบายต่างประเทศของประเทศทั้งหลาย หรือศึกษาเป็นประวัติศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
สังคมวิทยาได้ชื่อว่าเป็น "ราชินีแห่งศาสตร์" (ส่วนราชาแห่งศาสตร์ คือวิทยาศาสตร์) เพราะว่าศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสังคมทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ จนไปถึงศาสตร์ประยุกต์ของสังคมศาสตร์ อย่าง นิติศาสตร์ นิเทศศาสตร์ บริหารธุรกิจ ล้วนแล้วแต่มีสังคมวิทยาแทรกเป็นยาดำทั้งสิ้น
มานุษยวิทยานั้น แปลได้ตรงตัวว่าเป็น "การศึกษาเรื่องเกี่ยวกับมนุษย์อย่างรอบด้าน ทุกซอกทุกมุม" ในสหรัฐอเมริกา วิชานี้ได้แบ่งออกเป็น 4 สาขาใหญ่ๆ คือ มานุษยวิทยากายภาพ ศึกษาเรื่องลักษณะทางกายภาพของมนุษย์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน วิวัฒนาการของมนุษยชาติ ตั้งแต่วิวัฒน์จากลิงเกาะบนต้นไม้(ไพรเมท primate)มาเป็นคนปัจจุบันนี้(มนุษย์ปัจจุบันนักมานุษยวิทยากายภาพจะเรียกว่า โฮโม ซาเปี้ยน ซาเปี้ยน (homo sapiens sapiens)) และศึกษาถึงความแตกต่างระหว่างรูปร่าง ลักษณะของมนุษย์เผ่าพันธุ์ต่างๆในโลกปัจจุบันนี้ ตัวอย่างง่ายๆก็คือการแบ่งมนุษย์ เป็นสามรูปแบบง่ายๆนั่นเอง คือ นิกรอยด์ มองโกลอยด์ คอเคซอย ในเมืองนอกจะเรียนเป็นหมอเลย มีผ่าศพ ดูศพ ดูกระดูก ตรวจเลือด ในประเทศไทยมีสอนที่คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาต่อมา คือ มานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ ศึกษาถึงภาษาต่างๆบนโลกใบนี้ การออกเสียง ตระกูลของภาษา สาขาที่สาม คือมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ศึกษาถึงวัฒนธรรมของมนุษย์ที่ยังคงอยู่หรือกำลังจะสูญหายในปัจจุบัน กล่าวคือ ศึกษาถึงสถาบันต่างๆของมนุษย์ ในสังคมขนาดเล็ก ไม่จำเป็นต้องเป็นสังคมดั้งเดิมแบบชนเผ่าก็ได้ แต่เป็นสังคมเล็กๆ หรือหน่วยทางสังคมเพียงหน่วยเดียว ไม่ว่าจะเป็นสถาบันครอบครัว สถาบันการปกครอง สถาบันศาสนา สถาบันฯลฯ เหมือนสังคมวิทยาทุกอย่าง เพียงแต่เป็นการศึกษาในสังคมเล็กๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด ก็ รายการคนค้นคน นั่นแหละ คือการศึกษาทางมานุษยวิทยาวัฒนธรรม เช่น กะเทยแบกข้าวสาร เด็กสองคนหาเลี้ยงพ่อแม่ด้วยการขายน้ำเต้าหู้ และการศึกษาสังคมเล็กๆนั้น ต้องเป็นการศึกษาอย่างเจาะลึก ทุกด้านของชีวิต เพราะมนุษย์เกิดมา ไม่ได้มีแค่ด้านใดด้านหนึ่งของชีวิต แต่มนุษย์มีส่วนร่วมในทุกมนุษย์ไม่ได้มีชีวิตเพื่อเศรษฐกิจอย่างเดียว สาขาสุดท้าย คือ โบราณคดี เป็นการศึกษาวัฒนธรรมที่สูญหายไปแล้วของมนุษย์อย่างรอบด้านทุกแง่ทุกมุม ผ่านวัตถุทางวัฒนธรรมต่างๆที่จมอยู่ในดิน เช่น เครื่องมือหิน เครื่องปั้นดินเผา กระดูกสัตว์และกระดูกคน ซากพืชซากสัตว์ สิ่งของเหล่านี้จะเป็นพยานปากเอกที่จะบอกว่าในอดีตได้มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมใดๆได้เกิดขึ้นมาบ้าง ผ่านการตีความของนักโบราณคดี เช่น พบกระดูกหมาในหลุมฝังศพ จะบอกได้ว่าสมัยนี้ๆ คนเลี้ยงหมาแล้ว พบเศษอาหารอันประกอบด้วยเมล็ดข้าวและก้างปลากองเป็นก้อนรวมกัน ตรงพื้นดินบริเวณที่ตรงกับกระดูกช่องท้องของโครงกระดูกมนุษย์เพศหญิง ทำให้ทราบว่าอาหารมื้อสุดท้ายที่ผู้หญิงคนนี้กินก่อนตายเป็นข้าวกับปลา ที่โป่งมะนาว จ.ลพบุรี ขุดพบป่าช้าโบราณของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ลงเกรียง(เครื่องมือที่ใช้ฉาบปูนในงานก่อสร้างนั่นแหละ เรียกว่าเกรียงฉาบ เป็นเครื่องมือของนักโบราณคดีเวลาเริ่มต้นขุดค้นจากหน้าดิน ค่อยๆปาด ค่อยๆเปิดหน้าดินไปทีละชั้นๆ ช้าแต่ของที่จะพบก็ไม่เสียหาย)ที่ช่องไหน กริดไหน เป็นต้องเจอกระดูกคนไม่ก็ของอุทิศให้ศพทุกทีไป เช่นนี้แล้ว ตีความได้ว่า ชุมชนนี้ต้องเจริญพอสมควร มีผู้นำของชุมชน ที่มีอำนาจจะกันพื้นที่ส่วนหนึ่งของชุมชนให้เป็นป่าช้าได้ มีการจัดระเบียบในชุมชนนั้น เมื่อขุดพบไป พบว่ามีของอุทิศให้ผู้ตาย ตีความว่ามนุษย์สมัยนี้มีความเชื่อในเรื่องชีวิตในภพหน้า ชาติหน้าแล้ว(รวมไปถึงมีความเชื่อเรื่องผี) ของที่อุทิศให้ทำมาจากสำริด แสดงว่ามีเทคโนโลยีในการหลอมสำริดแล้ว กระดูกบางโครง ตบแต่งร่างกายอย่างหรูหรา เครื่องทรงเพียบ แสดงว่าน่าจะเป็นผู้ที่มีความสำคัญในชุมชน เป็นต้น นักโบราณคดีจะทำหน้าที่เหมือนนักสืบ เมื่อเห็นของในที่ต่างๆต้องวิเคราะห์และตีความให้ได้ เพื่อหาฉากของเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นมาเมื่อนานมาแล้ว บางครั้งอาจจำเป็นต้องใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ ภาษามาเกี่ยวข้องด้วย ดังนั้นโบราณคดีจึงเป็น สหวิทยาการ ที่ใช้ศาสตร์ต่างๆมาช่วยกันตีความเหตุการณ์ทางวัฒนธรรมที่เคยเกิดขึ้นในอดีต นักโบราณคดีบางท่านกล่าวว่าโบราณคดีคือมานุษยวิทยาวัฒนธรรมในภาคอดีตนั่นเอง ซึ่งโบราณคดีจะหาเรียนได้ที่คณะโบราณคดี เท่านั้น ส่วนที่อื่นๆที่เปิดสอนมานุษยวิทยา จะสอนบ้าง พอรู้แต่ไม่ลึกซึ้ง
ส่วนที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ นั้น จะเน้น มานุษยวิทยาวัฒนธรรมเป็นสำคัญ
ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์/บริหารรัฐกิจ
ภาควิชานี้ เรียนเกี่ยวกับการบริหาร ใช้ตำราเล่มเดียวกับบริหารธุรกิจทุกอย่าง แต่มีความแตกต่างอันเล็กน้อยแต่ยิ่งใหญ่อยู่ที่จุดประสงค์/เป้าหมายของการบริหาร บริหารธุรกิจ เป้าหมายอยู่ที่กระเป๋าสตางค์ของเจ้าของกิจการ แต่บริหารรัฐกิจ เป้าหมายอยู่ที่ปากท้อง/ความสุขของส่วนรวม ประชาชน แบ่งเป็นสามสาขาหลักๆ คือ บริหารทรัพยากรมนุษย์ การคลัง